1 |
วิจัย : ผลของโปรแกรมการพยาบาลฟื้นฟูผู้ป่วยระยะกลางที่บ้าน โดยใช้แรงสนับสนุนทางสังคม โรงพยาบาลตราด Effects of a Home-Based Rehabilitation Nursing Program for Intermediate Care Patients Using Social Support, Trat Hospital |
|
2 |
วิจัย : ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ของมารดาหลังคลอด โรงพยาบาลตราด (The Effectiveness of Promotion Program of Postpartum Mothers on Exclusive Breast-feeding for 6 months at Trat Hospital) |
|
3 |
วิจัย : ผลการใช้โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุของพยาบาลตามแนวคิดฮิวแมนนิจูด หอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลตราด (The Effect of Humanitude - driven program for Elderly Care by Nurses in Medicine ward, Trat Hospital) |
|
4 |
วิจัย : ปัจจัยที่สัมพันธ์กับอาการออฟฟิศซินโดรม(Office Syndrome) ของบุคลากรสำนักงานโรงพยาบาลตราด จังหวัดตราด Factors associated with office syndrome of office personnel in Trat Hospital, Trat Province |
|
5 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยในชุมชนที่มีภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายและล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง |
|
6 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยลูกตาแตก |
|
7 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกข้อสะโพกหักที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมและมีโรคร่วม |
|
8 |
วิจัย : การพัฒนาโปรแกรมสร้างความรู้และความสามารถในการปฏิบัติการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพจบใหม่ โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ โรงพยาบาลตราด (The Development of Knowledge and Ability Nursing Practice Program by Adult Learning Theory for Newly Graduated Nu |
|
9 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรังกำเริบเฉียบพลันที่มีภาวะปอดอักเสบร่วม |
|
10 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคฉี่หนูที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันและมีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด |
|
11 |
กรณีศึกษา : การดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้จากกลุ่มอาการ Prader - Willi Syndrome |
|
12 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยที่มีกระดูกสันหลังส่วนอกและเอวหักเคลื่อนทับรากประสาทไขสัน หลังร่วมกับมีภาวะช็อค |
|
13 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีแผลเรื้อรังที่เท้าและโรคร่วม |
|
14 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยที่บาดเจ็บของระบบประสาทหลังส่วนคอ |
|
15 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ |
|
16 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยหัวใจวายและมีภาวะหายใจล้มเหลว |
|
17 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลระงับความรู้สึกผู้สูงอายุเพื่อทำผ่าตัดถุงน้ำในสมอง |
|
18 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน STEMI |
|
19 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอดจากภาวะรกค้าง |
|
20 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลแบบประคับประคองในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะสุดท้าย ที่มีภาวะแทรกซ้อน |
|
21 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้คลอดไหล่ยาก ที่มีภาวะตกเลือดร่วมกับภาวะช็อก |
|
22 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดรุนแรงร่วมกับภาวะหัวใจห้องล่างเต้นผิดจังหวะ |
|
23 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด |
|
24 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยปอดอักเสบจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ร่วมกับมีลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดและมีโรคร่วม |
|
25 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยวัณโรคปอดและติดเชื้อ เอช ไอ วีที่มีภาวะแทรกซ้อนของตับ จากการใช้ยาวัณโรค |
|
26 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคกรวยไตอักเสบเฉียบพลันที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด และมีโรคร่วมเป็นเบาหวาน |
|
27 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอักเสบที่มีภาวะหายใจล้มเหลว |
|
28 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวร่วมกับมีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด |
|
29 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลัน |
|
30 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตจากการใช้สารเสพติดกัญชา |
|
31 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว |
|
32 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เป็นอัมพาตโดยสมบูรณ์ |
|
33 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอักเสบดื้อยาร่วมกับมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ |
|
34 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะไตวายเฉียบพลัน |
|
35 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีภาวะติดเตียง |
|
36 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันร่วมกับมีภาวะช็อก |
|
37 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด ทางหลอดเลือดดำร่วมกับภาวะหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว |
|
38 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตกจากความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะติดเตียงในชุมชน |
|
39 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีโรคร่วม ณ หน่วยบริการผู้ป่วยนอก |
|
40 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะจากโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน |
|
41 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคเอดส์ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาและมีโรคร่วมวัณโรคลำไส้ใหญ่ |
|
42 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยจิตเภทที่มีภาวะก้าวร้าว |
|
43 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยวัณโรคปอดที่ไม่มีอาการซึ่งพบในเบาหวานที่น้ำตาลในเลือดสูง |
|
44 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าและทำร้ายตัวเองในชุมชน |
|
45 |
กรณีศึกษา :การพยาบาลผู้ป่วยข้อสะโพกเสื่อม ที่รักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมและมีโรคร่วม |
|
46 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ |
|
47 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยต้อกระจกจากได้รับอุบัติเหตุเลนส์แก้วตาแตกและมีต้อหินร่วม |
|
48 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมและมีภาวะน้ำเกิน |
|
49 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง |
|
50 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่มีภาวะความดันโลหิตต่ำขณะฟอกเลือด |
|
51 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในกระแสเลือด (Septic shock) |
|
52 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคเรื้อนที่มีภาวะแทรกซ้อน |
|
53 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเนื้องอกมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุ์ |
|
54 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดหลอดเลือดสมองโป่งพองแตก |
|
55 |
วิจัย : ปัจจัยที่มีผลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนของมารดาหลังคลอด โรงพยาบาลตราด |
|
56 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งลำไส้ตรงอุดตันและเปิดลำไส้ใหญ่ทางหน้าท้อง (Colostomy) |
|
57 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยเด็กปอดอักเสบที่มีภาวะหายใจล้มเหลว |
|
58 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อ Acinetobacter baumannii ดื้อยาต้านจุลชีพหลายชนิด ในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ |
|
59 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดโรคหลอดเลือดสมองแตกและมีภาวะขาดสุรา |
|
60 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยแท้งที่มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนดร่วมกับภาวะ DIC |
|
61 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลการให้ยาระงับความรู้สึกผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้องและมีโรคร่วม |
|
62 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะความดันโลหิตสูงชนิดรุนแรงและมีภาวะรกค้าง |
|
63 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนซิกมอยด์ผ่านทางกล้องวิดิทัศน์ที่มีโรคร่วม |
|
64 |
วิจัย : ผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบเร่งด่วน โรงพยาบาลตราด Effects of Utilizing Fast Track Sepsis Clinical Nursing Practice Guideline, Trat Hospital |
|
65 |
กรณีศึกษา : กรณีศึกษาเปรียบเทียบการผ่าตัดและการให้การดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะหลอดเลือดสมองโป่งพองแตก |
|
66 |
วิจัย : ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและการลดปัญหาการฆ่าตัวตายสำเร็จในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด |
|
67 |
วิจัย : ความผูกพันองค์กรของบุคลากรในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด The Employee Engagement of personnel of Trat Provincial Public Health Office |
|
68 |
วิจัย : การศึกษาการจัดกลุ่มรายการยาโดยใช้การวิเคราะห์แบบ ABC-VEN matrix ในโรงพยาบาลตราด A study of Pharmaceutical inventory grouping Using ABC-VEN matrix in Trat Hospital |
|
69 |
วิจัย : การประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีน เพื่อพัฒนากระบวนการจัดซื้อจัดหายาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ของคลังยา โรงพยาบาลตราด Applying lean concepts to develop the procurement process for drug and non-pharmaceutical supplies of the drug storage, Trat hospital |
|
70 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโควิด-19 และมีภาวะปอดอักเสบรุนแรง |
|
71 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และมีภาวะหัวใจล้มเหลวร่วม |
|
72 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยวัณโรคปอด (เสมหะบวก) และติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) มีภาวะแทรกซ้อนจากการกินยา |
|
73 |
วิจัย : อุบัติการณ์ของเชื้อ Carbapenem-Resistant Enterobacteriaceae (CRE) ในช่วงการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในโรงพยาบาลตราด |
|
74 |
วิจัย : การศึกษาอุบัติการณ์การเกิดอันตรกิริยาระหว่างยาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลแหลมงอบ จังหวัดตราด |
|
75 |
วิจัย : ความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลตราดในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค Covid-19 Happiness in the work of Trat Hospital during the Covid-19 epidemic situation |
|
76 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเนื้องอกเยื่อหุ้มสมอง |
|
77 |
วิจัย : ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง Effectiveness of Health Education Program by Applying Health Belief Model on Health Behavior Change in Stroke Risk |
|
78 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่มีภาวะติดเตียงในชุมชน |
|
79 |
วิจัย : อุบัติการณ์การเกิดอาการไม่พึงประสงค์หลังรับวัคซีนโควิด-19 ของประชาชนที่ได้รับวัคซีน |
|
80 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยภาวะไตวายเรื้อรังและมีโรคร่วม ที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
|
81 |
วิจัย : การพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อดำเนินงานเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน |
|
82 |
วิจัย : ผลของการใช้สื่อวีดีทัศน์ต่อการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยที่มารับบริการการให้ยาระงับความรู้สึก แบบผู้ป่วยนอก |
|
83 |
วิจัย : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับอาการของผู้ป่วยไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) |
|
84 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลมารดาหลังผ่าตัดคลอดที่มีภาวะตกเลือดและมีภาวะช็อก |
|
85 |
วิจัย : การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล |
|
86 |
วิจัย : การเปรียบเทียบผลการรักษาด้วยเลเซอร์ทางกายภาพบำบัดกับการกระตุ้นด้วยไฟฟ้าในผู้ป่วยอัมพาตใบหน้า |
|
87 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บหลายระบบ ที่ศีรษะ ทรวงอก ช่องท้อง และกระดูกขาขวาท่อนล่างหัก |
|
88 |
วิจัย : ผลของโปรแกรมสร้างการรับรู้ภาวะสุขภาพของผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายต่อสมรรถนะการดูแลตนเอง ในคลินิกประคับประคองศูนย์พลังรักษ์โรงพยาบาลตราด |
|
89 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอดและมีภาวะช็อก |
|
90 |
กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ล้างไตทางช่องท้องและมีโรคร่วม |
|